การพััฒนาตามหลัักกสิิกรรมธรรมชาติิสู่่ระบบเศรษฐกิิจพอเพีียง - มููลนิิธิิกสิิกรรมธรรมชาติิ



การพััฒนาตามหลัักกสิิกรรมธรรมชาติิสู่่ระบบเศรษฐกิิจพอเพีียง มููลนิิธิิกสิิกรรมธรรมชาติิ

ประเทศชาติิบ้านเมืองเป็็นสิ่งศัักดิ์สิิทธิ์เป็็นสมบััติิที่่ทรงคุุณค่่ายัังประโยชน์์แก่่

มวลมนุุษยชาติิ จึึงเป็็นสิ่งที่่สมควรเทิิดทูน บำรุรัักษาไว้ให้ เแก่่ชนรุ่นหลัังได้อยู่อาศััย และดำำร ง

ชีวิิตให้ เป็็นไปอย่่างพอเหมาะพอควร


การพัฒนาประเทศที่่ผ่่านมาอิิงการพัฒนาตามกระแสโลกาภิิวััตน์์ ได้ก่อให้ เกิิดปััญหา

ด้านต่่าง ๆ ตามมามากมาย จากการเปลี่่ยนแปลงวิถีิการทำำเกษตรซึ่่งเป็็นพื้นฐานสำคัญของประเทศ

เมื่อภาคการผลิิตพื้้นฐานเปลี่่ยนระบบการผลิิต จากการผลิิตแบบพึ่งพาตนเองพึ่งพิิงธรรมชาติิ

สู่การผลิิตด้ว ยการพึ่งพาปุ๋ยเคมี พึ่งพิิงตลาดและอยู่รอดด้วยเงิินตราจากการค้ าขายการผลิิตเพื่อ

"พออยู่พอกิิน" ก็็เปลี่่ยนไปสู่การผลิิตเพื่อ "ตลาด" เพื่อหาเงิินมาใช้ ก่่อให้เกิิดปััญหาดิินเสื่อมโทรม

ดิินเป็็นกรด เกิิดการตกค้างของสารเคมี ซึ่่งกลายมาเป็็นข้ออ้างในการกีดกัันทางการค้ าของตลาดโลก

เป็็นผลให้สินค้ าทางการเกษตรอัันเป็็นผลผลิิตหลัักของประเทศถูกจำำกัดตลาดให้แคบลง ราคาตกต่ำำ

ส่่งผลกระทบถึึงเศรษฐกิิจของประทศและเศรษฐกิิจฐานราก นำำไปสู่ปัญหาสัังคมตามมา เมื่อครอบครััว

แตกสลายจากปััญหาทางเศรษฐกิิจ ปััญหาต่่าง ๆ จึึงพ่่วงพัันกันมา และยิ่งแก้ไขโดยการมุ่งเอาเงิิน

นำำก็ยิ่งส่่งผลกระทบเป็็นวงกว้าง กระจายไปทั่วประเทศจนกลายเป็็นความแตกแยกทางสัังคม

ดัังเช่่นปัจจุุบััน


พระบาทสมเด็็จพระเจ้าอยู่หัว รััชกาลที่ 9 ผู้ทรงเป็็นพ่อของแผ่่นดิน ทรงเป็็นจอมทััพ

แห่่งการพัฒนาด้วยสายพระเนตรอัันยาวไกลได้ทรงพระราชทานแนวทางในการแก้ปัญหาดััง

พระราชดำำรัสเนื่องในโอกาสวัันเฉลิิมพระชนมพรรษา ศุุกร์์ที่ 4 ธัันวาคม 2541 ความบางส่่วนว่่า ...


"ถึึงบอกว่่าเศรษฐกิิจพอเพีียง และทฤษฎีีใหม่่

สองอย่่างนี้จะนำำความเจริิญแก่่ประเทศได้

แต่่ต้องมีความเพียรแล้วต้ องอดทน ต้องไม่่ใจร้อน

ต้องไม่่พูดมาก ต้องไม่่ทะเลาะกััน

ถ้าทำำโดยเข้าใจกัน เชื่อว่่าทุุกคนจะมี ความพอใจได้"


เพื่อสนองพระราชดำำริิและพิิสูจน์์ให้เห็็นว่่าเศรษฐกิิจพอเพียงและทฤษฎีีใหม่่เป็็น

หนทางเดียวที่จ่ ะทำำให้ประเทศชาติิรอดพ้นจากวิกฤตและเกิิดการพัฒนาที่ยั่่งยืน และเป็็นทางรอด

ของโลก ข้าพเจ้าจึึงตั้้งปณิิธานอันแน่่วแน่่ในการสานต่่อแนวทางพระราชดำำริ โดยการเผยแพร่่

องค์์ความรู้้ทั้งทางทฤษฎีีและการปฏิบัติัิจริิงแก่่เกษตรกรและบุุคคลทุุกสาขาอาชีพ โดยประยุุกต์์ใช้

ทฤษฎีีใหม่่ด้านการออกแบบพื้นที่่เพื่อการจััดการน้ำ จากนั้นฟื้นฟู และสร้างระบบนิิเวศให้ สมดุุล

ด้วยศาสตร์์ในการจััดการดิน น้ำำ ป่่า เริ่มจากฟื้้นฟูดินที่เสียไปด้วยการห่มดิิน ให้ปุ๋ยแห้ ง ปุ๋ยน้ำำ

ปลูกป่่า 3 อย่่าง ประโยชน์์ 4 อย่่าง ปลูกแฝกเพื่ออนุุรัักษ์์ดิินและน้ำำ จััดการระบบำำบััดน้ำำเสี ย

แบบอธรรมปราบอธรรม ฯลฯ ร่่วมกัับภูมิ ิปััญญาท้องถิ่น อาทิิ การทำำการเกษตรตามหลััก

กสิิกรรมธรรมชาติิ หลัักการ "คืนชี วิิตให้ แผ่่นดิน" เลี้ยงดิินให้ดิ ินเลี้ยงพื ช การทำำปุ๋ยหมัักจาก

จุุลิินทรีย์ ์ท้องถิ่น การบำำบัด น้ำำด้วยระเบิิดจุุลิินทรีย์ ์ การเพาะปลูกพื ชหลายระดัับ เป็็นต้น จากแนวคิด

ดัังกล่่าวนำำไปสู่ การสร้างโมเดลการจััดการพื้นที่ส่่วนตััวด้ว ย "โคก หนอง นา โมเดล" เพื่อจััดการกัก

เก็็บน้ำำในพื้นที่ใ่ห้มี เพียงพอ เป็็นโมเดลที่สร้างให้เกิิดความสมดุุลและความพร้อมพึ่งตนเองในสภาพ

ปััจจุุบันที่โ่ลกกำำลังเผชิิญกัับความเปลี่่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภััยพิิบัติัธรรมชาติิอย่่างรุุนแรง


การออกแบบพื้นที่ตามหลัักภูมิสัังคมมี เป้้าหมายเพื่อเก็็บน้ำำฝนที่ตกลงมาในพื้นที่ไว้ให้

ได้ทั้ง 100% หรือมากกว่่านั้น โดยขุุดหนองและออกแบบเส้นทางน้ำำให้ สามารถรองรัับน้ำำฝนให้

ได้มากที่สุุด จากนั้นนำำดินที่่ขุุดได้ไปทำำโคกเพื่ออยู่อาศััยยามน้ำำหลาก บนโคกปลู กป่่า 3 อย่่าง

ประโยชน์์ 4 อย่่างเพื่อเก็็บน้ำำไว้ใต้ดิน ส่่วนในนานั้นก็ยกคัันนาให้สูงกว่่าปกติิเพื่อเก็็บน้ำำไว้ในนา

และเพาะปลูกพืชบนคันนาตามหลัักกสิิกรรมธรรมชาติิโดยเลือกชนิิดของพื ชที่่ปลู กให้ เหมาะสม

กัับวิิถีชี วิิต จากนั้นเผื่อแผ่่แบ่่งปััน สร้างสัังคมบุุญ-ทาน ตามวิิถีตะวัันออกเป็็นการสร้างภูมิคุ้ มกััน

ให้กับตนเองและสัังคม และสร้าง "คำำตอบ" จากการลงมื อทำำให้ เป็็นแนวทางของสัังคมทุุกระดัับ


พระบาทสมเด็็จพระเจ้าอยู่หัว รััชกาลที่่ 10 ได้มี พระราชดำำรัสเรื่องโคก หนอง นา

และการลงมื อทำำโคก หนอง นา ที่ถือได้ว่าเป็็นวิิถี อารยเกษตร ดัังความตอนหนึ่งว่่า


“โคก หนอง นา นอกจากเป็็นสั ัญลัักษณ์์ของความอุุดมสมบูรณ์ ์ทางด้านเกษตรกรรม

แล้วยังเป็็นศิิลปะ เป็็นแบบฝึกหััดที่ดี ในการที่จะรวมเกษตรที่่หลากหลาย

ให้ มาอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ในเวลาเดี ยวกันรัักษาความหลากหลาย

แต่่ความหลากหลายนั้น ก็็เกื้้อกูลซึ่่งกัันและกััน

โคก หนอง นา ความหมายดี อยู่แล้ว ก็็คือเกษตรเพื่อความอุุดมสมบูรณ์ ์

เพื่อความอยู่ดีกินดี ของประชาชน และชีวิิตของพวกเรา

เพราะว่่าประเทศของเรานี้ไม่่หนี เรื่องการเกษตรคื อปากท้อง

และเป็็นชีวิิตของเราตามพระบรมราโชบายของรััชกาลที่่ 9

พระบาทสมเด็็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานมา

ได้รับพระมหากรุุณาธิิคุุณมามากมายในเรื่องของเกษตร

ในเรื่องของการพัฒนา อัันนี้ ก็็เป็็นการรวม หรือแสดงตััวอย่่าง

และเป็็นตััวอย่่างที่ใช้งานได้จริง ๆ นำำไปใช้ได้

ไม่่ใช่่เป็็นโมเดลที่แสดงไว้ในตู้้ อยู่คงที่ แต่่เป็็นโมเดลที่ใช้งานได้จริง ๆ

นำำไปใช้ได้อย่่างอ่่อนตััว อย่่างใช้งานได้จริง ๆ แล้วก็หลากหลายได้

โคก หนอง นา นำำความหลากหลาย และความอ่่อนตััวมารวม

เพื่อใช้งานในเรื่องปากท้องและการเกษตรซึ่่งเป็็นเศรษฐกิิจของเรา”

“ในยุุครััชกาลที่่ 9 มี พระราชดำำริ  เศรษฐกิิจพอเพี ยง

ในยุุคนี้คือเกษตร เกษตรคือประเทศ ก็็คือผืนดิน (Sustainable Agronomy)

คืออารยประเทศ เกษตรประเทศ ก็็คืออารยประเทศ

ทำำได้โดยประยุุกต์์หลาย ๆ ทฤษฎีีที่่ได้ทรงรัับสั่งไว้

อารยะคือเจริิญแล้ว เจริิญแล้วก็ต้องเจริิญในใจก่อน

ประเทศเรารวยที่่สุุดคือ อารยธรรม เรียกได้ว่าเป็็น "Cultural Heritage"

เมืองไทยมีวัฒนธรรม คนไทยใจดี มี เมตตา ธรรมะ ธรรมโม

มีความรู้้เรื่องศาสนา มีศ าสนาต่่าง ๆ ที่รัั่กษาไว้

ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ศิิลปะต่่าง ๆ ที่รัั่กษาไว้

วััฒนธรรมของเรา มี "Culture"หรือการเป็็นคนไทย ประเทศอื่นไม่่มี

บ้านเรามีวัฒนธรรม มี ความเป็็นคนไทยเราจึึงรอด แต่่ไม่่ใช่่เราคร่ำำครึึ

ประเทศที่่มีวัฒนธรรม ไม่่ใช่่เอาของต่่างชาติิมาใช้หมด เทคนิิคของต่่างชาติิ

เทคโนโลยีของต่่างชาติิก็็ดี แต่่เราก็็ต้องนำำมาใช้ให้ เหมาะสมในบ้านเรา"

พระราชดำำรัสพระบาทสมเด็็จพระเจ้าอยู่หัว รััชกาลที่่ 10

ทรงพระราชทานเมื่อวัันที่่ 29 มกราคม 2564


อาหารคือชีวิติ เกษตรคืออาหาร โคก หนอง นา ที่ส่ ามารถสร้างความอุุดมสมบูรณ์ทาง

อาหารให้ชี วิิตและธรรมชาติิสภาพแวดล้อม จึึงเป็็นวิิถี แห่่งความเป็็นอารยะ ความเจริิญและ

ยั่งยืน อย่่างแท้จริง ท่่ามกลางโลกในยุค disruption ที่ทุุ่กอย่่างผัันผวน เปลี่่ยนแปลงอย่่างรวดเร็็ว

เกิินจินตนิ าการ ผนวกกัับโรคภััยไข้เจ็็บและเชื้้อโรคร้ายที่ทวีคูณเปลี่่ยนแปลงอย่่างยากที่จะควบคุม

จึึงเป็็นโอกาสที่่จะกระตุุกให้ มนุุษย์์เราได้กลัับมาตระหนัักว่่า “เงิินทองเป็็นของมายา ข้าวปลาสิิ

ของจริิง” ด้ว ยการลงมื อปฏิิบััติิสร้างกสิิกรรมธรรมชาติิ โคก หนอง นา อารยเกษตรด้ว ยมื อของเราเอง


(นายวิิวััฒน์์ ศััลยกำธร)

นายกสมาคมดิินโลก

และผู้้ก่่อตั้้งมู ลนิิธิิกสิิกรรมธรรมชาติิ

12 เมษายน 2564







ดาวน์โหลดไฟล์หนังสือแบบ .pdf คลิกที่นี่

Share on Google Plus

About Sorawee Blog

Blog บันทึกนี้เป็นที่รวบรวมความรู้ด้านการเกษตรที่ค้นหาได้ตามความสนใจของผู้บันทึก ไม่ขอยืนยันว่าข้อมูลที่บันทึกและรวบรวมไว้มีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด เนื่องจากไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเกษตร แต่เป็นผู้ที่สนใจอยากเข้ามาเรียนรู้และอยากมีโอกาสได้ลงมือทำเท่านั้น หากจะให้นิยามของ BLOG นี้ว่าคืออะไร เราก็อยากจะนิยามของความรู้ด้านเกษตรใน BLOG คือ "เกษตรทฤษฎี copy_paste" อย่าได้เชื่ออะไรจนกว่าท่านจะได้พิสูจน์ด้วยตัวท่านเอง ดังนั้น ผู้บันทึกเองยินดีรับคำชี้แนะทุกสถานหากท่านจะเมตตาชี้แนะ แต่หากข้อมูลที่บันทึกทั้งหมดนี้จะเป็นประโยชน์ หรือจะเป็นแรงบันดาลใจของท่านใดให้ลงมือทำแบบจริงจัง ก็อย่าลืมแวะมาเล่าให้เราได้ฟังบ้างนะครับ ขอบคุณครับ

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น